Astronomy: 3,000 Years of Stargazing

Home

Astronomy: 3,000 Years of Stargazing

ดาราศาสตร์: 3,000 ปีแห่งการส่องดูดาว

(Astronomy:  3,000 Years of Stargazing)

ท้องฟ้าและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนฟ้า เป็นสิ่งน่าสนใจและกระตุ้นให้มนุษยชาติเกิดความอยากรู้สาเหตุของปรากฏการณ์เหล่านั้น ไม่ว่าจะเป็นสุริยุปราคา จันทรุปราคา วงจรการเกิดฤดูกาล การเคลื่อนที่ของดาวฤกษ์และดาวเคราะห์...เป็นต้น กลุ่มแท่งหินขนาดใหญ่สโตนเฮนจ์ (Stonehenge) ในอังกฤษ และ มาชูปิกชู (Machu Picchu: เมืองสาบสูญแห่งอินคา) ในประเทศเปรู เป็นประจักษ์พยานตัวอย่าง ของความพยายามของมนุษย์ที่ทำการศึกษา ในแง่ทำนายสิ่งที่จะเกิดขึ้น

ด้วยการนำเสนอของตัวการ์ตูนไอนสไตน์ ซึ่งจะนำเรากลับไปเยี่ยมชมเหตุการณ์สำคัญ ๆ ทางดาราศาสตร์ในช่วง 3,000 ปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับการเกิดจักรวาลในอดีต จากระบบการโคจรของดาวของปโตเลมี ไปจนถึงทฤษฎีต่าง ๆ ของ คอปเปอร์นิคัส กาลิเลโอ เคปเลอร์ นิวตัน และ เฮอร์เชล เป็นต้น เรายังมีโอกาสได้ สัมผัสการค้นพบ ซึ่งเกิดขึ้นได้จากการใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ ตั้งแต่กล้องส่องดูดาวกล้องแรก ที่ประดิษฐ์ออกแบบโดยกาลิเลโอ ไปจนถึงกล้องดูดาวสมัยใหม่ใน
 
ปัจจุบันที่ตั้งอยู่บนโลก และในอวกาศ กล้องเหล่านี้นำมาซึ่ง
การเปิดเผยถึงวัตถุในอวกาศที่มนุษย์ไม่มีโอกาสได้รู้เห็น เช่น กลุ่มเนบิวล่า พาลซาร์ และหลุมดำอวกาศ เป็นต้น

การมองย้อนอดีต และเรียนรู้จากผลงานที่ยิ่งใหญ่ ของนักวิทยาศาสตร์เหล่านั้น ทำให้เราพอจะมองเห็นว่า การค้นพบในอนาคตเป็นแบบใดบ้าง เมื่อพูดถึงอนาคตของดาราศาสตร์ เราพอจะแน่ใจอย่างหนึ่งว่า ความอยากรู้อยากเห็น ของมวลมนุษย์มักจะไปไกลเกินความสามารถ ของกล้องดูดาวในขณะนั้นจะดูได้อยู่เสมอ

ภาพยนตร์ดาราศาสตร์เต็มโดม

Astronomy: 3,000 Years of Stargazing

The sky, and everything that happens there, has always aroused the interest and curiosity of the human race. Eclipses, the regular cycle of the seasons, the motion of the stars… The ruins of Stonehenge and Machu Picchu bear witness to how these phenomena were studied with a view to predicting them.

In the learned company of a cartoon Einstein, we’ll be revisiting the major astronomical milestones of the last 3000 years, from the cosmological models of antiquity, through the Ptolemaic system and the epicycles, to the contributions of Copernicus, Galileo, Kepler, Newton and Herschel, amongst others. We’ll also be reviewing the discoveries made possible by the use of technology, from the first telescope, designed by Galileo, to the modern ones in use both on earth and in space, which have revealed the wonderful objects contained in the cosmos to us: nebulae, pulsars, black holes…

Only by looking back, and learning about sciences’ great triumphs in the past, can we hope to catch a glimpse of what its future findings might be. Meditating on the future of astronomy, all we can know for certain is that, happily, our curiosity will always be moving a few steps ahead of the reach of our telescopes.

Click To View Astronomy: 3000 Years of Stargazing

ภาพยนตร์ดาราศาสตร์เต็มโดม